เว็บไซต์ฐานข้อมูลศิลปกรรมเอเซียอาคเณย์ กำลังทำการปรับปรุงบางส่วน ขออภัยในความไม่สะดวกค่ะ
ติดต่อภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร คลิก
เทวาลัยในศิลปะบาหลีหลายครั้งตั้งอยู่บนที่ลาดเชิงเขา และมีการแบ่งออกเป็นสามลานโดยลานชั้นนอกสุดจะตั้งอยู่บนพื้นที่ราบแต่ลานชั้นในสุดจะตั้งอยู่บนยอดเนินเขา ด้วยเหตุที่ถือคติว่าลานด้านหน้าเป็นโลกมนุษย์ลานด้านในเป็นโลกสวรรค์-ดังนั้น ลานด้านหน้าและลานด้านในย่อมอยู่ในพื้นต่างระดับกันและทำให้เกิดการออกแบบที่ลาดเชิงเขาระหว่างลานด้านหน้ากับลานด้านในให้กลายเป็นพนักขั้นบนได
พนักขั้นบันไดที่ปุระเกเห็น ถือเป็นพนักขั้นบันไดที่งดงามที่สุดแห่งหนึ่งในศิลปะบาหลี โดยมีการประดับประติมากรรมอยู่ที่เขื่อนขั้นบันไดทั้งห้าชั้น โดยตรงกลางปรากฏบันไดสำหรับเดินขึ้นไปยังโคปุระ
ศิลปะชวาภาคกลาง,จันทิอรชุน,จันทิปุนตเทพ,จันทิศรีกันทิ,จันทิภีมะ,จันทิเมนดุต,จันทิปะวน,บุโรพุทโธ,จันทิกะลาสัน,จันทิส่าหรี,จันทิเพลาสัน,จันทิเซวู,จันทิปรัมบะนัน,ชวาตะวันออก,จันทิเบลาหัน,จันทิกิดาล,จันทิจาโก, จันทิสิงหาส่าหรี,จันทิจาวี,จันทิปะนะตะรัน,จันทิติกุส,จันทิบาจังระตู,บาหลี,ปุระทานาล็อต,ปุระเบซาคิห์,ปุระอุลุนดานู,ปุระเกเห็น,ปุระมาโอสปาหิต,ปุระตะมันอยุน,จันทิสี่หลังที่กุหนุงกาวีร
ฐานข้อมูลศิลปกรรมเอเซียอาคเนย์ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร โดย ฐานข้อมูลศิลปกรรมเอเซียอาคเนย์ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุญาตให้ใช้ได้ตาม สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า 4.0 International.
อยู่บนพื้นฐานของงานที่ http://www.art-in-sea.com/.
การอนุญาตนอกเหนือจากที่ระบุไว้ในสัญญาอนุญาตนี้ อาจมีอยู่ที่ http://www.art-in-sea.com/
คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร 31 ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 โทรศัพท์ 0 2224 7684 โทรสาร 0 2226 5355